ไม่มีช่อง ไม่ได้อ่าน บ้างเหรอครับ
มันไม่ค่อยมีนิตยสารสำหรับพวก programmer เท่าไหร กลายเป็นนิตยสารสำหรับคนทั่วไปแทน ต้องไปอ่านของต่างประเทศเอา :'(
อ่าน PC Magazine ครับ ผมว่าเป็นนิตยสารที่โอเคเลย มีสาระดี ไม่ใช่นิตยสารที่โฆษณาทั้งเล่ม เนื้อหากลวงๆ
เลิกซื้อนิตยสารบ้านเรามานานแล้ว
ยืมอ่านบ้าง พบว่าคุณภาพยังไม่พอให้ผมเสียเงิน
lewcpe.com, @wasonliw
อ่าน eWorld ครับ ไม่มี ในเครือ se-ed (Micro, Micro-User) เรื่องคุณภาพนี่จริงครับ บางเล่มแปลจากต้นฉบับทั้งดุ้น ไม่มีที่เขียนเองเลย
สำหรับหนังสือเมืองไทย อ่าน Graphix Magazine และ ICT Magazine ครับ หนังสือเมืองนอกอ่าน Computer Art, DIGIT, Mac World Magazine ครับ
และหนังสือที่ได้แต่ดู (เพราะไม่เคยอ่านเนื้อหาเลย) คือ IDN Magazine ครับ
ลืมทั้ง se-ed แล้วก็ pc mag เพิ่มให้แล้วครับ
เป็นสมาชิก Chip ครับ
จริงน่ะครับที่วารสารสำหรับโปรแกรมเมอร์หายไป คงเป็นเพราะอ่านที่เป็นภาษาอังกฤษกัน
แต่ยังไงภาษาไทยสำหรับน้องๆรุ่นใหม่ยังจำเป็นอยู่ ที่ญี่ปุ่น เกาหลี เค้าก็อ่านที่เป็นภาษาของเค้ากัน
น่าจะตั้งคำถามให้ตรงประเด็น เป็น นิตยสารที่ชอบอ่านที่สุด เพราะให้เลือกได้เพียงข้อเดียว
ผมซื้อนิตยสารประจำเลย ก็คือ PC Magazine, Micro Computer ที่ซื้อบ้าง คือ Windows Magazine, Com Now
สมัยก่อนมีนิตยสารสำหรับนักพัฒนาโดยเฉพาะ (ภาษาไทย) ชื่อ @DEV ในเครือ QuickPC เมื่อ ประมาณ 4 - 5 ปีที่แล้ว ซึ่งแปลบทความในนิตยสารต่างประเทศมา เล่มละประมาณ 80 กับ 120 (มี CD-ROM) น่าเสียดายที่คนไทยไม่ชอบอ่านหนังสือ ทำให้ขายได้แค่ปีเศษก็ต้องปิดไป
ผมว่านักพัฒนาซอฟแวร์ในไทย ทำงานหนักเกินไป จนไม่ได้รับความใส่ใจในเรื่องการพัฒนาความรู้ของตนเอง ทั้งที่ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่ำกว่าของทางอเมริกา ยุโรป เราทุ่มเทให้คนอื่นเกินไปรึเปล่า หันมาอ่านหนังสือกันมากๆเถอะครับ
แต่ผมชอบ @dev นะ
onedd.net
ตอนเด็กๆ ผมซื้ออ่านตลอดเลยครับ เป็นแฟนพันธ์แท้ AR ส่วน QuickPC แต่ก่อนชื่อเสียงไม่ค่อยดี เพราะชอบไป copy บทความคนอื่นในเน็ตมาลงแบบไม่ให้เครดิต ไม่ขออนุญาต นอกนั้นก็มีหนังสืออื่นๆ อย่าง Internet Magazine, Computer User บ้าง
ตอนนั้นได้ความรู้เรื่อง hardware จากนิตยสารพวกนี้แหละ หลังๆ พอหัวเริ่มตามเทคโนโลยีพวกนี้ทัน ก็ทะยอยเลิกซื้อไป เหลือแค่เล่มเดียวอย่าง Windows Magazine หลังจากนั้นก็ไปอ่าน Chip ได้ปีกว่าๆ ก็เลิกอ่าน
ปัจจุับัน เลือกอ่านเฉพาะมีเหตการณ์สำคัญๆ เกิดขึ้นก็จะตามไปอ่าน พอเราโตขึ้นก็รู้สึกว่าเนื้อหามันเบาลงทุกที
ส่วนหนังสือสำหรับ developer ที่เคยเจอสมัยนั้นก็มี .Net Magazine, @Dev และ winMag ท้ายๆ เล่มก็พอมีบ้าง แต่ปัจจุบันก็หายไปตามเวลา
จริงๆ ถ้ามีคนกล้าทำผมคิดว่าคนอ่านมีแน่ๆ รู้สึกว่าเทคโนโลยีปัจจุับันมันทำให้คนเริ่มขยับมาอัปเดตความรู้ตัวเองกันมากขึ้น ว่าแต่ว่าใครสนใจทำ e-Magazine คุณภาพดีๆ สักเล่มไหมครับ?
เมื่อก่อนอ่าน eweek thailand กับ eleader
แต่ตอนนี้เลิกอ่านแล้ว หันมาอ่าน slashdot กับ blognone
dean4j - ผมอยากทำนะครับ คิดไว้ว่าต่อไป blognone เองก็ต้องมีความเป็น magazine เพิ่มเติมจากส่่วนที่เป็นข่าว แต่นั่นก็หมายถึงวันหนึ่งที่ blognone มีคนเขียนข่าวมากจนผมไม่ต้องเขียนเอง อาจจะแค่มาดูแลเนื้อหาให้ไปทางเดียวกันก็พอ
ตอนนี้มีคนมีส่วนร่วมกับเราเยอะขึ้นเรื่อยๆ แต่ผมมองว่าก็ยังไม่พอ มีบางทีที่ข่าวน่าสนใจแต่ผมไม่ได้ว่าง ผมก็จงใจทิ้งไว้ไม่เขียน ข่าวนั้นก็ยังถูกทิ้งอยู่เหมือนกัน
พอคนล้นจากข่าว ซึ่งเป็น Main Focus ของผมตอนนี้ ผมเริ่มโครงการหน้าแน่ๆ ครับ
ผมพอจะเห็นภาพนะครับ ผมก็เชื่อด้วยว่าหลายๆ คนในที่นี้อยากมีส่วนร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา Blognone ให้เจริญเติบโตและมีเนื้อหาหลากหลายมากขึ้น
แต่คนเหล่านี้ติดปัญหาเพราะเนื้อหาข่าวส่วนใหญ่มาจากแหล่งข่าวต่างประเทศ บางคนภาษาอังกฤษหูไม่กระดิก บางคนเห็นตัวหนังสือภาษาอังกฤษก็ตาลาย บางคนอ่านออก แปลพอได้ แต่ขาดความมั่นใจกลัวแปลผิด (ผมเองทุกวันนี้ก็ recheck ตัวเองหลายรอบเหมือนกันเวลาโพสข่าวแต่ละอัน)
อีกอย่างนิสัยคนไทยยิ่งขี้อาย ขี้กลัว กลัวหน้าแตกเสียหน้า นิสัยอีกอันแย่กว่าเดิม คือชอบซ้ำเติมเวลาคนอื่นพลาดล้ม ยังงี้ก็ยิ่งพลอยทำให้อะไรแย่กว่าเดิมอีก
ผมคิดว่าถ้าละลายพฤติกรรมตรงนี้ได้ คิดว่าน่าจะได้คนมาช่วยเขียนข่าวอีกเยอะเลย เพราะผมเองก็ยอมรับว่าตัวเองหูตาไม่กว้างไกลในข่าววงกว้างเทียบคุณ lew,mk ไม่ได้เลย
ผมเสนอให้ Blognone น่าจะจัด event อะไรสักอย่างมาละลายพฤติกรรมนะ ลองทำเป็น Sand Box ของการอนุญาตให้ใครมาลองโพสดีมั้ยครับ ออกตัวไว้ว่าผิดถูกก็ไ่่ม่เป็นไร นี่เป็นข้อเสนอนะ ถ้าคุณ lew มีไอเดียเก๋ๆ กว่านี้ก็ลองดูครับ
โจทย์ที่คุณ deans4j ให้มาเป็นอะไรที่ดีมากครับ คงต้องขอไปคิดซักระยะ
แต่ผมอ่านจบแล้วนึกถึงบทความนี้ของ wikipedia เป้าหมายคล้ายๆ กัน แปะไว้ให้อ่านเผื่อมีคนสนใจ วิกิพีเดีย:ขอให้กล้าแก้ไขบทความ
อ่าน PC World อยู่บ้างเหมือนกัน ถ้าเล่มนั้นมีเรื่องที่อยากอ่าน
deans4j - เรื่อง SandBox นี่น่าสนใจมากครับ ยังไงจะหาแนวทางดีๆ มาใช้ต่อไปนะครับ
Comments
ไม่มีช่อง ไม่ได้อ่าน บ้างเหรอครับ
มันไม่ค่อยมีนิตยสารสำหรับพวก programmer เท่าไหร กลายเป็นนิตยสารสำหรับคนทั่วไปแทน ต้องไปอ่านของต่างประเทศเอา :'(
อ่าน PC Magazine ครับ ผมว่าเป็นนิตยสารที่โอเคเลย มีสาระดี ไม่ใช่นิตยสารที่โฆษณาทั้งเล่ม เนื้อหากลวงๆ
เลิกซื้อนิตยสารบ้านเรามานานแล้ว
ยืมอ่านบ้าง พบว่าคุณภาพยังไม่พอให้ผมเสียเงิน
lewcpe.com, @wasonliw
อ่าน eWorld ครับ ไม่มี ในเครือ se-ed (Micro, Micro-User) เรื่องคุณภาพนี่จริงครับ บางเล่มแปลจากต้นฉบับทั้งดุ้น ไม่มีที่เขียนเองเลย
สำหรับหนังสือเมืองไทย อ่าน Graphix Magazine และ ICT Magazine ครับ หนังสือเมืองนอกอ่าน Computer Art, DIGIT, Mac World Magazine ครับ
และหนังสือที่ได้แต่ดู (เพราะไม่เคยอ่านเนื้อหาเลย) คือ IDN Magazine ครับ
ลืมทั้ง se-ed แล้วก็ pc mag เพิ่มให้แล้วครับ
เป็นสมาชิก Chip ครับ
จริงน่ะครับที่วารสารสำหรับโปรแกรมเมอร์หายไป คงเป็นเพราะอ่านที่เป็นภาษาอังกฤษกัน
แต่ยังไงภาษาไทยสำหรับน้องๆรุ่นใหม่ยังจำเป็นอยู่ ที่ญี่ปุ่น เกาหลี เค้าก็อ่านที่เป็นภาษาของเค้ากัน
น่าจะตั้งคำถามให้ตรงประเด็น เป็น นิตยสารที่ชอบอ่านที่สุด เพราะให้เลือกได้เพียงข้อเดียว
ผมซื้อนิตยสารประจำเลย ก็คือ PC Magazine, Micro Computer ที่ซื้อบ้าง คือ Windows Magazine, Com Now
สมัยก่อนมีนิตยสารสำหรับนักพัฒนาโดยเฉพาะ (ภาษาไทย) ชื่อ @DEV ในเครือ QuickPC เมื่อ ประมาณ 4 - 5 ปีที่แล้ว ซึ่งแปลบทความในนิตยสารต่างประเทศมา เล่มละประมาณ 80 กับ 120 (มี CD-ROM) น่าเสียดายที่คนไทยไม่ชอบอ่านหนังสือ ทำให้ขายได้แค่ปีเศษก็ต้องปิดไป
ผมว่านักพัฒนาซอฟแวร์ในไทย ทำงานหนักเกินไป จนไม่ได้รับความใส่ใจในเรื่องการพัฒนาความรู้ของตนเอง ทั้งที่ค่าตอบแทนเฉลี่ยต่ำกว่าของทางอเมริกา ยุโรป เราทุ่มเทให้คนอื่นเกินไปรึเปล่า หันมาอ่านหนังสือกันมากๆเถอะครับ
แต่ผมชอบ @dev นะ
onedd.net
ตอนเด็กๆ ผมซื้ออ่านตลอดเลยครับ เป็นแฟนพันธ์แท้ AR ส่วน QuickPC แต่ก่อนชื่อเสียงไม่ค่อยดี เพราะชอบไป copy บทความคนอื่นในเน็ตมาลงแบบไม่ให้เครดิต ไม่ขออนุญาต นอกนั้นก็มีหนังสืออื่นๆ อย่าง Internet Magazine, Computer User บ้าง
ตอนนั้นได้ความรู้เรื่อง hardware จากนิตยสารพวกนี้แหละ หลังๆ พอหัวเริ่มตามเทคโนโลยีพวกนี้ทัน ก็ทะยอยเลิกซื้อไป เหลือแค่เล่มเดียวอย่าง Windows Magazine หลังจากนั้นก็ไปอ่าน Chip ได้ปีกว่าๆ ก็เลิกอ่าน
ปัจจุับัน เลือกอ่านเฉพาะมีเหตการณ์สำคัญๆ เกิดขึ้นก็จะตามไปอ่าน พอเราโตขึ้นก็รู้สึกว่าเนื้อหามันเบาลงทุกที
ส่วนหนังสือสำหรับ developer ที่เคยเจอสมัยนั้นก็มี .Net Magazine, @Dev และ winMag ท้ายๆ เล่มก็พอมีบ้าง แต่ปัจจุบันก็หายไปตามเวลา
จริงๆ ถ้ามีคนกล้าทำผมคิดว่าคนอ่านมีแน่ๆ รู้สึกว่าเทคโนโลยีปัจจุับันมันทำให้คนเริ่มขยับมาอัปเดตความรู้ตัวเองกันมากขึ้น ว่าแต่ว่าใครสนใจทำ e-Magazine คุณภาพดีๆ สักเล่มไหมครับ?
เมื่อก่อนอ่าน eweek thailand กับ eleader
แต่ตอนนี้เลิกอ่านแล้ว หันมาอ่าน slashdot กับ blognone
dean4j - ผมอยากทำนะครับ คิดไว้ว่าต่อไป blognone เองก็ต้องมีความเป็น magazine เพิ่มเติมจากส่่วนที่เป็นข่าว แต่นั่นก็หมายถึงวันหนึ่งที่ blognone มีคนเขียนข่าวมากจนผมไม่ต้องเขียนเอง อาจจะแค่มาดูแลเนื้อหาให้ไปทางเดียวกันก็พอ
ตอนนี้มีคนมีส่วนร่วมกับเราเยอะขึ้นเรื่อยๆ แต่ผมมองว่าก็ยังไม่พอ มีบางทีที่ข่าวน่าสนใจแต่ผมไม่ได้ว่าง ผมก็จงใจทิ้งไว้ไม่เขียน ข่าวนั้นก็ยังถูกทิ้งอยู่เหมือนกัน
พอคนล้นจากข่าว ซึ่งเป็น Main Focus ของผมตอนนี้ ผมเริ่มโครงการหน้าแน่ๆ ครับ
lewcpe.com, @wasonliw
ผมพอจะเห็นภาพนะครับ ผมก็เชื่อด้วยว่าหลายๆ คนในที่นี้อยากมีส่วนร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนา Blognone ให้เจริญเติบโตและมีเนื้อหาหลากหลายมากขึ้น
แต่คนเหล่านี้ติดปัญหาเพราะเนื้อหาข่าวส่วนใหญ่มาจากแหล่งข่าวต่างประเทศ บางคนภาษาอังกฤษหูไม่กระดิก บางคนเห็นตัวหนังสือภาษาอังกฤษก็ตาลาย บางคนอ่านออก แปลพอได้ แต่ขาดความมั่นใจกลัวแปลผิด (ผมเองทุกวันนี้ก็ recheck ตัวเองหลายรอบเหมือนกันเวลาโพสข่าวแต่ละอัน)
อีกอย่างนิสัยคนไทยยิ่งขี้อาย ขี้กลัว กลัวหน้าแตกเสียหน้า นิสัยอีกอันแย่กว่าเดิม คือชอบซ้ำเติมเวลาคนอื่นพลาดล้ม ยังงี้ก็ยิ่งพลอยทำให้อะไรแย่กว่าเดิมอีก
ผมคิดว่าถ้าละลายพฤติกรรมตรงนี้ได้ คิดว่าน่าจะได้คนมาช่วยเขียนข่าวอีกเยอะเลย เพราะผมเองก็ยอมรับว่าตัวเองหูตาไม่กว้างไกลในข่าววงกว้างเทียบคุณ lew,mk ไม่ได้เลย
ผมเสนอให้ Blognone น่าจะจัด event อะไรสักอย่างมาละลายพฤติกรรมนะ ลองทำเป็น Sand Box ของการอนุญาตให้ใครมาลองโพสดีมั้ยครับ ออกตัวไว้ว่าผิดถูกก็ไ่่ม่เป็นไร นี่เป็นข้อเสนอนะ ถ้าคุณ lew มีไอเดียเก๋ๆ กว่านี้ก็ลองดูครับ
โจทย์ที่คุณ deans4j ให้มาเป็นอะไรที่ดีมากครับ คงต้องขอไปคิดซักระยะ
แต่ผมอ่านจบแล้วนึกถึงบทความนี้ของ wikipedia เป้าหมายคล้ายๆ กัน แปะไว้ให้อ่านเผื่อมีคนสนใจ วิกิพีเดีย:ขอให้กล้าแก้ไขบทความ
อ่าน PC World อยู่บ้างเหมือนกัน ถ้าเล่มนั้นมีเรื่องที่อยากอ่าน
deans4j - เรื่อง SandBox นี่น่าสนใจมากครับ ยังไงจะหาแนวทางดีๆ มาใช้ต่อไปนะครับ
lewcpe.com, @wasonliw