ในงาน Startup Thailand 2017 ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 6-9 กรกฎาคมนี้ มีความเคลื่อนไหวสำคัญจากสตาร์ทอัพสายสุขภาพ กล่าวคือสตาร์ทอัพสุขภาพในประเทศไทยกว่า 30 บริษัท รวมตัวกัน เตรียมจัดตั้งเป็นสมาคม Health Startup Network (HSN) หวังปลดล็อกข้อจำกัดทางกฎหมาย อำนวยความสะดวกในการสร้างนวัตกรรมใหม่ และลดความเสี่ยงของการดำเนินธุรกิจ
สัปดาห์ที่ผ่านมาเรามีงาน Startup Thailand 2016 ซึ่งถือเป็นงานด้านสตาร์ตอัพงานใหญ่งานแรก ที่ภาครัฐไทยลงมาเป็นเจ้าภาพอย่างเต็มตัว ผลการจัดงานประสบความสำเร็จเป็นอย่างดีในแง่ผู้เข้าชม (ตัวเลขอย่างไม่เป็นทางการที่ผมทราบมาคือ "มากกว่า 3 หมื่นคน") และในแง่ความรับรู้ของคนทั่วไป
ผมมีโอกาสไปเดินดูงานในวันสุดท้ายคือวันอาทิตย์ที่ 1 พฤษภาคม พบว่าคนเยอะมาก บางช่วงถึงกับเดินฝ่าเข้าไปไม่ได้เลย จากการเดินชมงานก็มีความเห็นและข้อสังเกตดังนี้
แม้จะผ่านไปแล้วไม่กี่วันสำหรับงาน Startup Thailand 2016 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ในวันที่สองมีเสวนาที่น่าสนใจโดยเฉพาะเสวนาเรื่อง Corporate Venture Investment Strategy in Startups ที่กล่าวถึง Corporate Venture Capital ในมุมมองของธนาคารและบริษัทสื่อสารยักษ์ใหญ่ว่ามีมุมมองยังไงกับสตาร์ทอัพในช่วงนี้
ผู้ร่วมเสวนามีดังต่อไปนี้
เมื่อวันเสาร์ที่ 30 เมษายน 2559 ผมมีโอกาสได้เข้าร่วมงานเสวนาหัวข้อ “Lesson Learned form Overseas Thai Startups” ซึ่งเป็นกิจกรรมหนึ่งในงาน Startup Thailand 2016 ณ ศูนย์ฯ สิริกิติ์ ว่าด้วยเรื่องราวของเทคสตาร์ตอัพหลายรายที่เป็นของคนไทย แต่ไปเติบโตในต่างประเทศ (หลักๆ คือในสหรัฐอเมริกา) โดยมีผู้ร่วมเสวนาดังนี้
แม้จะล่วงเลยมาหลายวัน แต่คิดว่าสาระสำคัญยังน่าจะมีประโยชน์ จึงขอสรุปมาเล่าต่อ ณ ที่นี้ครับ
งาน Startup Thailand 2016 ที่ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เปิดตัวธุรกิจสตาร์ทอัพของไทยกว่า 200 ราย พร้อมทั้งหน่วยงานสนับสนุนสตาร์ทอัพจากต่างประเทศ เป้าหมายของงานคือ เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้สตาร์ทอัพไทย และสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้ประกอบการที่สนใจสร้างสตาร์ทอัพ
จึงเก็บบรรยากาศและตัวอย่างบริษัทสตาร์ทอัพส่วนหนึ่ง (มีเยอะมาก) ในงานวันแรก (28 เมษายน) มาให้ชมกัน