ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอิงค์เจ็ตที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อยๆ แต่ราคาถูกลงทุกวัน ทำให้เริ่มมีคนคิดจะทำเทคโนโลยีเหล่านี้ไปใช้งานอย่างอื่นๆ กันบ้างแล้ว ล่าสุดคือการนำเข็มขนาดจิ๋วที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ตไปใช้งานในการจ่ายยาให้กับผู้ป่วย

ข้อดีของระบบเทคโนโลยีอิงค์เจ็ตคือมันเป็นระบบการฉีดของเหลวในปริมาณน้อยมากๆ ได้อย่างแม่นยำ เมื่อนำไปใช้ในการจ่ายยา ทำให้เราสามารถควบคุมการจ่ายยาในปริมาณน้อยมากๆ แต่ต่อเนื่องไปตลอดเวลาให้กับผู้ป่วยได้ โดยเทคโนโลยีที่กำลังจะถูกนำไปใช้นี้เป็นของบริษัท HP ที่ได้วิจัยขึ้นในศูนย์วิจัยที่สิงคโปร์

ระบบการจ่ายยานี้เป็นแถบขนาดเพียง 25 ตารางมิลลิเมตร และหนา 3 มิลลิเมตรภายในประกอบด้วยเข็มขนาดจิ๋วประมาณ 100 ไมครอนจำนวนมาก พร้อมระบบประมวลผลเพื่อจ่ายยาตามเวลาที่กำหนดในระดับที่แพทย์ต้องการ

ผมไม่เชี่ยวชาญศัพท์ทางการแพทย์เท่าใหร่ ยังไงลองไปอ่านต้นฉบับแล้วมาติงกันได้ครับ แต่แอบหวังว่าเข็มเล็กๆ อย่างนี้จะทำให้การฉีดยาไม่เจ็บด้วย

ที่มา - ZDNet Asia

Hiring! บริษัทที่น่าสนใจ

CDG GROUP company cover
CDG GROUP
Provider of IT solutions to public, state, and private sectors in Thailand for over 56 years
Bangmod Enterprise company cover
Bangmod Enterprise
The leader in Cloud Server and Hosting in Thailand.
Siam Commercial Bank Public Company Limited company cover
Siam Commercial Bank Public Company Limited
"Let's start a brighter career future together"

bitworld Thu, 09/13/2007 - 14:27

ถ้าไม่เจ็บก็แจ่ม

แต่ทุกวันนี้ก็ไม่กลัวเข็มอยู่แล้วอ่ะครับ แต่รู้สึกว่าเวลามันเดินยาแล้วเจ็บแค่นั้นเอง เนาะ

- -" เข็มจิ๋วร้อยไมครอน ..... อยู่ด้วยกันจำนวนมาก ..... คิดไปคิดมามันจะเจ็บหรือเปล่าเนี่ยะ

DrRider Thu, 09/13/2007 - 15:08

อ่านแล้วเค้าบอกว่าเข็มทั้งหมดจะจิ้มลงไปบนผิวหนังชั้นหนังกำพร้าบนสุดที่เป็นเซลล์ตายแล้วแห้งๆ และไม่มีเส้นประสาทไปถึง ดังนั้นบอกได้ว่า ไม่เจ็บ

--------------------------- Henshin!!

สงสัยแบบคนไม่มีความรู้แล้วยามันจะซึมเข้าไปได้เหรอครับ ในความรู้สึกมันไม่น่าจะต่างกับยาทามากนักนะถ้าเป็นแบบนั้น

ด้วยความยาวของเข็มมันจะผ่านทะลุชั้น epidermis ทีีเป็นตัวกั้นสารเคมีต่างๆ เข้าไปเจอกับหลอดเลือด แล้วก็เข้าสู่กระแสเลือดได้เลยครับ

เพื่อความเข้าใจลองดูรูปนี้ประกอบด้วยครับ

Little RX

DrRider Fri, 09/14/2007 - 08:39

In reply to by elixer

ชั้น epidermis ส่วนที่บางที่สุดก็ปาเข้าไป 500 micron เข้าไปแล้วครับ จากความยาวเข็มที่บอกมา 75-100 micron นั้นยังไม่ทะลุ epidermis นะครับ แต่ทะลุ stratum corneum แล้ว แค่นี้ก็ทำให้การดูดซึมยาดีกว่าทายาแล้วครับ เพราะใกล้หลอดเลือดฝอยมากขึ้น แถมยังเป็นการฉีดที่มีตัวควบคุมการฉีดด้วย จึงน่าจะให้ผลการดูดซึมยาดีกว่าการทาที่อาจจะทาหนา ทาบางไม่เท่ากัน และควบคุมปริมาณยาได้ไม่ดีครับ

--------------------------- Henshin!!

kong Thu, 09/13/2007 - 17:17

ต่อไปพันธุ์ทิพย์คงมีร้านรับเติมยา อยู่ข้างๆ ร้านรับเติมหมึก :P

====== suksit.com

Mr.JoH Thu, 09/13/2007 - 18:19

ระวัง อีกนหน่อยอาจมีคนหยิบผิด เอาหมึกอีงเจ็ตฉีดแทนยา 55 Mr.JoH

Apple
public://topics-images/apple_webp.png
SCB10X
public://topics-images/347823389_774095087711602_515970870797767330_n_webp.png
Windows 11
public://topics-images/hero-bloom-logo.jpg
Doom
public://topics-images/doom_logo.png
Huawei
public://topics-images/huawei_standard_logo.svg_.png
Threads
public://topics-images/threads-app-logo.svg_.png
Google Keep
public://topics-images/google_keep_2020_logo.svg_.png
Fortnite
public://topics-images/fortnitelogo.svg_.png
Instagram
public://topics-images/instagram_logo_2022.svg_.png
SCB
public://topics-images/9crhwyxv_400x400.jpg
Microsoft
public://topics-images/microsoft_logo.svg_.png
Basecamp
public://topics-images/bwpepdi0_400x400.jpg
Tinder
public://topics-images/hwizi8ny_400x400.jpg
FTC
public://topics-images/seal_of_the_united_states_federal_trade_commission.svg_.png
Pinterest
public://topics-images/pinterest.png
Palantir
public://topics-images/-nzsuc6w_400x400.png
AIS Business
public://topics-images/logo-business-2021-1.png
PostgreSQL
public://topics-images/images.png
JetBrains
public://topics-images/icx8y2ta_400x400.png
Krungthai
public://topics-images/aam1jxs6_400x400.jpg
Palworld
public://topics-images/mccyhcqf_400x400.jpg
Bill Gates
public://topics-images/bill_gates-september_2024.jpg
VMware
public://topics-images/1nj4i1gp_400x400.jpg
Take-Two Interactive
public://topics-images/0khle7nh_400x400.jpg
OpenAI
public://topics-images/ztsar0jw_400x400.jpg
Thailand
public://topics-images/flag_of_thailand.svg_.png
NVIDIA
public://topics-images/srvczsfq_400x400.jpg
ServiceNow
public://topics-images/ytnrfphe_400x400.png
PS5
public://topics-images/playstation_5_logo_and_wordmark.svg_.png
Klarna
public://topics-images/urcllpjp_400x400.png
Google Play
public://topics-images/play.png
Drupal
public://topics-images/drupal.png
Virtua Fighter
public://topics-images/virtua_figther_2024_logo.png
Paradox Interactive
public://topics-images/paradox_interactive_logo.svg_.png
Europa Universalis
public://topics-images/europa-icon.png
Nintendo Switch 2
public://topics-images/mainvisual.png
Cloudflare
public://topics-images/cloudflare_logo.svg_.png
Samsung
public://topics-images/samsung.png
Google
public://topics-images/google_2015_logo.svg_.png
Uber
public://topics-images/uber.png
Microsoft 365
public://topics-images/m365.png
USA
public://topics-images/flag_of_the_united_states.svg_.png
GM
public://topics-images/0pe0po-z_400x400.jpg
Perplexity
public://topics-images/perplex.jpg
Xperia
public://topics-images/xperia.png
iOS 18
public://topics-images/ios-18-num-96x96_2x.png
True
public://topics-images/true_logo.png
SoftBank
public://topics-images/softbank.jpg
Pac-Man
public://topics-images/pacman.png
Harry Potter
public://topics-images/harry.png
Marvel
public://topics-images/marvel.png
Skydance
public://topics-images/skydance.png
SEA
public://topics-images/sealogo.png
Find My Device
public://topics-images/find.png
Gemini
public://topics-images/google_gemini_logo.svg__1.png
Accessibility
public://topics-images/accessibility-128x128_2x.png
Material Design
public://topics-images/m3-favicon-apple-touch.png
Android 16
public://topics-images/android16.png
Android
public://topics-images/android_0.png
Firefox
public://topics-images/firefox_logo-2019.svg_.png
Google Messages
public://topics-images/messages.png
Notepad
public://topics-images/notepad.png