กสทช.
เช้าวันนี้ทางสำนักสื่อสารสาธารณะและบริการประชาชน สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม (สบท.) ได้ส่งจดหมายข่าวเตือนผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม ต่อคดี "อากง เอสเอ็มเอส" ว่าสะท้อนว่าเจ้าของเครื่องจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำผ่านเครื่องนั้นๆ แม้จะไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้ลงมือจริงก็ตาม
ผลจากคดีนี้ กสทช.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา ออกคำเตือนผ่านสบท. ดังนี้
ตามพ.ร.บ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 นั้นกำหนดให้การใช้งานเพื่อการค้านั้นต้องได้รับใบอนุญาตผ่านการประมูลเท่านั้น ปัญหาคือกสทช. จะเริ่มจัดสรรคลื่นความถี่ได้ก็หลังจากออกตารางกำหนดคลื่นความถี่แห่งชาติได้เสียก่อน ระหว่างนี้จึงเป็นช่วงเวลาที่สัญญาการใช้ความถี่ต่างๆ ที่หมดลงจะต้องหยุดดำเนินกิจการจนกว่าเราจะเข้าสู่ระบบการประมูล ผลคือกิจการที่สัญญาจะหมดลงในช่วงนี้ก็จะถูกยึดความถี่คืนทั้งหมด
ย้อนกลับไปข่าวเก่าเมื่อเดือนที่แล้ว หลังจากที่วุฒิสภาได้คัดเลือก กสทช. ทั้ง 11 คนแล้วนั้น เมื่อวันที่ 7 ตุลาคมที่ผ่านมา นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้นำรายชื่อของผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ชุดแรก ตาม พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 ขึ้นทูลเกล้าฯ ไปแล้วนั้น ในวันเดียวกันก็มีสำเนาประกาศจากสำนักนายกรัฐมนตรีส่งมายังรัฐสภาโดยมีใจความว่า
update: ผมตรวจสอบกับแหล่งข่าวอื่นๆ หลายคนให้ความเห็นว่ากสทช. ไม่น่าจะสั่งหยุดให้บริการ โดยเว็บอื่นๆ นอกจาก Post Today ระบุเพียงรักษาการกสทช.สั่งให้แก้เนื้อหาสัญญาเท่านั้น (ไทยรัฐ, ประชาชาติธุรกิจ, MCOT) ดังนั้นเราอาจจะต้องรอรายงานผลการประชุมตัวเต็มขึ้นเว็บกสทช. และจดหมายคำสั่งไปยังทรูว่าจะมีคำสั่งเป็นอย่างไร
หลังจากยืดเยื้อมานานนับปี วันนี้วุฒิสภาได้ลงมติเลือกคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ชุดแรกตาม พ.ร.บ. องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 จำนวน 11 คนเรียบร้อยแล้ว
คณะกรรมการ กสทช. มีวาระการทำงาน 6 ปี ในการปฏิบัติงานจริงจะแบ่งงานออกเป็น 2 ส่วนคือ โดยแบ่งคณะกรรมการย่อย 2 ชุด ชุดละ 5 คน (ไม่รวมประธาน กสทช.) คือ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) และคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม (กทค.)
สำหรับรายชื่อ กสทช. ทั้ง 11 คนมีดังนี้
กระบวนการสรรหากสทช. ที่จะเข้ามากำกับดูแลคลื่นความถี่ทั้งประเทศผ่านการคัดค้านไปได้อีกขั้นเมื่อศาลปกครองกลางได้อ่านคำพิพากษายกฟ้องจากการที่นายสุรนันท์ วงศ์วิทยกำจร ฟ้องร้องต่อคณะกรรมการสรรหากรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ว่าดำเนินการไม่โปร่งใส
เมื่อวานนี้ (29 มิ.ย.) คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ปฎิบัติหน้าที่แทนคณะกรรมการกิจการวิทยุกระเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทร คมนาคม (กสทช.) ได้อนุมัติให้ AIS เปลี่ยนแปลงพื้นที่ให้บริการ 3G HSPA บนความถี่เดิม (in-band migration) จำนวน 1,884 สถานี ซึ่งคู่สัญญาสัมปทานของ AIS คือ TOT ได้อนุมัติมาก่อนแล้ว
ส่วนนายวิเชียร เมฆตระการ ซีอีโอของ AIS ระบุว่าการอัพเกรดอุปกรณ์ 2G เดิมเป็น HSPA เรียบร้อยหมดแล้ว จะเปิดบริการในเดือน ก.ค. ประมาณ 1,000 สถานี และเปิดครบ 1,884 สถานีภายในไตรมาสที่สามของปีนี้