ในเวลานี้ที่เทคโนโลยีงานพิมพ์ 3 มิติกำลังมาแรงสุดๆ งานค้นคว้าวิจัยใช้ประโยชน์งานพิมพ์นั้นมีหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นงานออกแบบ, งานผลิตชิ้นส่วนต่างๆ มากมาย ทั้งการสร้างบ้าน, สร้างรถ หรือจะเพื่อการแพทย์อย่างใช้การพิมพ์ 3 มิติสร้างเนื้อเยื่อตับไว้ทดสอบยา, สร้างกระดูกเทียมก็ยังมี แน่นอนว่าสร้างหุ่นยนต์ก็ย่อมได้ แต่วันนี้เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติที่ก้าวหน้ามากขึ้นจนสามารถทำชิ้นงานขนาดเล็กในระดับนาโนเมตร ส่งผลให้นักวิจัยสามารถสร้างหุ่นยนต์อสุจิได้แล้ว
มาอีกแล้วกับข่าวคราวเทคโนโลยีงานพิมพ์ 3 มิติ กับการใช้งานด้านการแพทย์ ไม่เพียงแต่จะสามารถสร้างหลอดเลือดเทียม หรือสร้างเนื้อเยื่อตับเพื่อใช้กับงานวิจัยยาเท่านั้น วันนี้การพิมพ์ 3 มิติสามารถผลิตกระดูกเทียมด้วยวัสดุตั้งต้นจากกระดูกจริงที่ถูกนำมาป่น
นักวิจัยจาก Duke University Medical Center ในประเทศสหรัฐอเมริกาทำงานวิจัย "Brainet" เชื่อมต่อสมองสัตว์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการคิดประมวลผลได้จริง โดยมีการทดสอบกับสัตว์ 2 ประเภท คือ ลิงแม็กแคก และ หนู
ในปัจจุบันเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติได้ก้าวเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนางานด้านสาธารณสุขมากยิ่งขึ้น เราเคยเห็นงานวิจัยสร้างหลอดเลือดเทียมด้วยการพิมพ์ 3 มิติมาก่อน มาวันนี้การพิมพ์ 3 มิติสามารถสร้างเนื้อเยื่อตับเพื่อใช้ในเชิงพาณิชย์ได้แล้ว
การพัฒนาของเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติที่ก้าวกระโดดในระยะหลัง ไม่เพียงแต่ให้ประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมงานออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เท่านั้น แต่ยังเป็นทางเลือกในการพัฒนาวิทยาการด้านอื่นๆ ซึ่งก็รวมถึงด้านการแพทย์ด้วย ดังเช่นผลงานการค้นคว้าของเหล่านักวิทยาศาสตร์ที่ต้องการนำการพิมพ์ 3 มิติมาช่วยในการสร้างอวัยวะเทียมให้แก่มนุษย์ และล่าสุดก็สามารถหาทางสร้างหลอดเลือดเทียมด้วยการพิมพ์เป็นผลสำเร็จ
นาย Lee Spievak ชายวัย 69 ผู้สูญเสียนิ้วไปจากอุบัติเหตุกลับมามีนิ้วงอกสมบูรณ์อีกครั้งจากการใช้ผงมหัศจรรย์ pixie dust
หลังจากที่ถูกใบพัดของเครื่องบินจำลองเฉือนนิ้วหายไป 1/2” โดยไม่สามารถหาชิ้นส่วนส่วนที่ถูกตัดเพื่อนำกลับมาต่อใหม่ได้ นาย Lee แทบจะสิ้นหวัง แต่โชคดีที่น้องชายของเขาซึ่งทำงานอยู่ในวงการ regenerative medicine ได้ส่งผงมหัศจรรย์ดังกล่าวมาให้เพื่อใช้โรยที่แผลเพื่อการรักษา สี่สัปดาห์หลังจากนั้นนิ้วของเขาก็กลับมามีสภาพสมบูณ์ดังเดิม