การเดินทางอันยาวนานของเรามาถึงตอนที่ 6 แล้วนะครับ ตอนนี้ว่าด้วยประเด็นด้านฮาร์ดแวร์ทั้งหมด ได้แก่ Device Stage, หาไดรเวอร์เจอมั้ย และความสามารถใหม่ HomeGroup เอาไว้เซ็ตระบบเครือข่ายที่บ้านได้แบบง่ายๆ
ความเดิม:
ตอนที่ 4 เป็นเรื่องของส่วนติดต่อผู้ใช้อื่นๆ และ Windows Explorer ครับ
ผมไม่ได้คิดคำโปรยบนหัวเองนะครับ แต่คำว่า Adamo นั้นแปลว่า "ตกหลุมรัก" จริงๆ น่าเสียดายว่ากว่าจะได้ Adamo มาทดสอบนั้นก็ค่อนข้างยาวนานถึงหกเดือนหลังการเปิดตัว เล่นเอาประกาศลดราคากันไปแล้วหนึ่งรอบ แถมยังมีรุ่นใหม่จ่อๆ ว่าจะเปิดตัวในเร็วๆ นี้?
ความเดิม:
สำหรับตอนที่ 3 จะกล่าวถึงส่วนติดต่อผู้ใช้อื่นๆ นอกเหนือจาก Taskbar ได้แก่ Start Menu และการจัดการหน้าต่าง
รีวิว Windows 7 ตอนที่สอง ว่าด้วยสเปกฮาร์ดแวร์ขั้นต่ำ คำถามว่าควรใช้ 32 บิทหรือ 64 บิท จากนั้นเข้าสู่เรื่องหน้าตาและรูปลักษณ์ รวมไปถึงสิ่งที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุดจาก Vista มายัง Windows 7 นั่นคือ Taskbar อันใหม่นั่นเอง
บทความในชุด: รีวิว Windows 7 ตัวจริง: ตอนที่ 1
เมื่อต้นปี Blognone ได้รีวีว Windows 7 Beta ไปแล้ว (ตอนที่ 1, ตอนที่ 2) เมื่อเวลาผ่านมาอีกเกือบปี Windows 7 ก็เสร็จสมบูรณ์ และพร้อมสำหรับวันวางจำหน่ายจริง 22 ตุลาคม 2009 คราวนี้ถึงเวลามาดูกันอีกรอบว่า ระบบปฏิบัติการที่หลายๆ คนรอคอย และไมโครซอฟท์เองก็ฝากความหวังไว้อย่างเต็มที่ว่าจะมากู้หน้าของ Vista ได้นั้นใช้ดีแค่ไหน เป็นอย่างไร
ตอนเก่า
ตอนสุดท้ายว่าด้วยประเด็นอื่นๆ ของ BlackBerry, รีวิวโปรแกรมที่น่าสนใจบางตัว และปิดด้วยความเห็นจาก @sugree
พอดีว่าวันนี้ ผมได้รับ Snow Leopard ที่สั่งมาจาก Apple Online Store แล้ว เลยคิดว่าจะมานำเสนอประสบการณ์ที่ได้รับจากการอัปเกรดเสียหน่อย ซึ่งจริงๆ แล้วผมเห็นว่าก็คงมีรีวิวจากหลายๆ สำนักในเมืองนอกเมืองนารีวิวกันเต็มไปหมดแล้ว ตรงนี้ผมจะขอเน้นเฉพาะประสบการณ์หรือปัญหาที่พบจากการ "อัปเกรด" และอะไรที่เฉพาะเจาะจงใน "ประเทศไทย" เป็นหลักแล้วกันนะครับ
ข้อมูลทั้งหมด อ้างอิงบน MacBook Pro รุ่นแรกสุด Core Duo 2.16GHz (ซีพียูยังเป็น 32bit) แรม 2GB และฮาร์ดดิสก์อัปเกรดเป็น 500GB
และเนื่องจากคงไม่มีการจัดเรื่องราวอะไรแบบรีวิวปกติ เลยขอนำเสนอเป็นข้อๆ ตามแต่ละเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วกันนะครับ จะได้อ่านง่ายๆ ด้วย เพราะคงไม่ปะติปะต่อกันเท่าไหร่
การติดตั้งและฮาร์ดแวร์
ช่วงหลังๆ นี้แฟชั่นของการพัฒนาซอฟต์แวร์บนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กกินพลังงานต่ำคงเป็นกระแสที่นักพัฒนาเริ่มเห็นกันชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ ว่ามันกำลังมาแทนที่โลกคอมพิวเตอร์ฝังตัวไปเรื่อยๆ ล่าสุดผมได้มีโอกาสที่จะลองเล่นบอร์ด ARM9 ที่ผลิตในจีนชื่อว่า Mini2440 จาก FriendlyARM ที่มีจุดเด่นที่ราคาต่ำกว่า 5,000 บาท แต่แพลตฟอร์มมีความเปิดทำให้สามารถพัฒนาได้อย่างไม่จำกัด
เว็บ MacRumors ได้ทำสรุปรายงานการทดสอบใช้งาน iPhone 3G S จากสำนักข่าวออนไลน์หลาย ๆ แห่งไว้ เลยขอเอามาสรุปอีกทีนึงจะได้ประหยัดเวลาอ่านกันครับ
ตอนเก่า: รีวิว Dell Studio 1555 ตอนที่หนึ่ง
ตอนเก่า: รีวิว Dell Studio 1535 ตอนที่ 1
เป็นหนึ่งในโน้ตบุ๊กที่ Dell ประเทศไทยส่งมาให้รีวิวนะครับ จริงๆ ผมอยากได้ Mini 12 มาลองเล่นเหมือนกันแต่ว่าช้า... T_T เลยอดไป ได้ Dell Studio 15 สองตัวมาทดสอบแทน
แอปเปิลเปิดตัว Firmware ของไอโฟน 3.0 พร้อมความสามารถใหม่ๆ หลายตัวที่น่าสนใจ แต่เปิดให้ทดสอบได้เฉพาะนักพัฒนาโปรแกรมเข้ามาทดสอบก่อนเท่านั้น พอดีผมเป็นสมาชิกของ iPhone Developer อยู่แล้ว (ค่าสมัคร $99) ก็เลยมีโอกาสได้ลองทดสอบความสามารถใหม่ๆ ของไอโฟน 3.0 และก็ตัว SDK ไปพร้อมๆ กัน
เนื่องจากผมไม่ได้ใช้ไอโฟน 3G เลยไม่สามารถทดสอบ MMS และหูฟัง Bluetooth ได้ รวมทั้งโปรแกรมที่มีอยู่ในตอนนี้ยังไม่รองรับความสามารถใหม่ๆ อย่าง Push Notification หรือ Peer to peer จึงได้เพียงทดสอบความฟังก์ชันหลักๆ ที่เกี่ยวกับการใช้งานทั่วไป โดยเฉพาะเรื่องของภาษาไทย !!
iPhone Firmware 3.0 Beta
สวัสดีครับ หลังจากที่เพิ่งกลับมาที่หอพักได้ไม่นาน MacBook Pro 17 นิ้วรุ่น Unibody ก็มาถึงซะที ดูเหมือนจะเป็นเวลาปลดประจำการ Asus EEE PC 1002HA เสียที
อันนี้เป็นเพียงรีวิวสั้น ๆ มีจุดประสงค์เพื่อจะมาบอกข้อมูลเกี่ยวกับแบตเตอรี่ของเจ้า MacBook Pro ตัวนี้ที่กำลังเป็นที่ถกเถียงกันหลายแห่งเหมือนกัน สำหรับคนที่ใช้ MacBook Pro รุ่น Aluminum ธรรมดา อาจจะเอาเหตุผลข้อดีและข้อเสียของผมมาดูว่าถึงเวลาเปลี่ยนเครื่องมาเป็น Unibody หรือไม่ก็ได้ เนื่องจากผมจะเปรียบเทียบเจ้า MacBook Pro 17" Unibody ตัวนี้กับ MacBook Pro 17" ตัวเก่าของผม นี่ไม่ใช่รีวิวอย่างละเอียดแต่อย่างไรนะครับ