อินเทลเปิดตัวซีพียูซีรีส์ 200 ที่งาน CES 2025 ชุดใหญ่ รวมทั้งหมด 4 ซีรีส์ดังนี้
HP เปิดตัวบริการซัพพอร์ตทางเทคนิคจากระยะไกลแบบใหม่ HP out-of-band remediation service สามารถเข้ามาซ่อมเครื่องให้ลูกค้าได้ แม้พีซีเครื่องนั้นบูตไม่ขึ้นก็ตาม
HP ระบุว่าตัวเองเป็นผู้ผลิตพีซีรายแรกที่สามารถให้บริการลักษณะนี้ได้ เบื้องหลังของมันคือระบบ KVM (keyboard, video and mouse) ที่สามารถควบคุมได้จากระยะไกล (ผ่านหน่วยประมวลผลขนาดเบาตัวที่สอง ของแพลตฟอร์ม Intel vPro) ช่างเทคนิคของ HP สามารถรีโมทเข้ามาตรวจสอบอาการเสีย เช่น บูตไม่ผ่าน อิมเมจระบบปฏิบัติการพัง หรือปัญหา BIOS ได้โดยไม่ต้องให้ลูกค้าลองทำตามที่บอก (แน่นอนว่าต้องได้รับความยินยอมจากลูกค้าก่อน โดยการกดยืนยัน security code)
อินเทลเปิดตัวซีพียู Core Ultra (Meteor Lake) และ Core 14th Gen (Raptor Lake Refresh) เวอร์ชัน vPro สำหรับลูกค้าองค์กร โดยเป็นซีพียูเดิมที่เคยเปิดตัวไปแล้วทั้งหมด แค่ออกเวอร์ชัน vPro เพิ่มเข้ามา
ซีพียูกลุ่ม vPro มีฟีเจอร์ด้านบริหารจัดการและความปลอดภัย เพิ่มเข้ามาจากซีพียูฝั่งคอนซูเมอร์ ตัวอย่างคือฟีเจอร์ Thread Detection Technology ที่เปิดให้บริษัทซอฟต์แวร์ความปลอดภัยมาเรียกใช้งานอีกต่อหนึ่ง รอบนี้ vPro เพิ่มของใหม่อีกจำนวนหนึ่งคือ
Intel vPro คือแพลตฟอร์มเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มศักยภาพให้การดำเนินธุรกิจได้จริงจาก Intel ผ่านจุดเด่นเรื่องประสิทธิภาพการทำงาน ความปลอดภัย และการเชื่อมต่อที่เหมาะกับยุค Work from Anywhere
ดังนั้นลองมาทำความรู้จักแพลตฟอร์ม Intel vPro ให้มากขึ้นว่ามีแบบใด เหมาะกับธุรกิจใดบ้าง พร้อมตัวอย่างการประยุกต์ใช้จาก CTC หรือ บริษัท ซีทีซี โกลบอล (ประเทศไทย) จำกัด หนึ่งในธุรกิจ SI ชั้นนำของไทย
คอมแรง คอมเร็ว สร้างความได้เปรียบทางธุรกิจได้อย่างไม่ต้องสงสัย แต่ถ้า คอมไม่ปลอดภัย โอกาสที่ธุรกิจจะชะงัก หรือพ่ายแพ้ต่อคู่แข่งก็มีสูง ดังนั้นคงจะดีกว่าที่ในโลกธุรกิจจะใช้ คอมแรง, คอมเร็ว และคอมที่ปลอดภัย
Intel เล็งเห็นปัจจัยดังกล่าว จึงพัฒนา Intel vPro หรือเทคโนโลยีแพลตฟอร์มเพื่อธุรกิจโดยเฉพาะ ตอบโจทย์ความต้องการ และช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ ในโลกธุรกิจได้ โดยเฉพาะเรื่องความปลอดภัยที่สำคัญไม่แพ้กับฝั่งประสิทธิภาพในการทำงาน
Blognone อยากชวนมาทำความเข้าใจกันว่า ทำไมองค์กรธุรกิจถึงควรเลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่มาพร้อมกับ Intel vPro และการใช้งาน Intel vPro ในโลกธุรกิจจะต่างกับการใช้คอมพิวเตอร์ที่ติดตั้ง CPU ของ Intel ที่ไม่มีแพลตฟอร์มเทคโนโลยีนี้แค่ไหน
แพลตฟอร์มเทคโนโลยีเพื่อธุรกิจ หลายคนอาจจะคิดว่าเหมาะสำหรับองค์กรที่ให้บริการและขายสินค้าเท่านั้น แต่จริงๆ แล้ว แพลตฟอร์มสามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกอุตสาหกรรม
ในบทความนี้ Blognone จะพาไปดูกรณีศึกษาของ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ได้ร่วมมือกับ Intel ในการทดสอบบระบบ Intel VPro มาทดลองใช้และยกระดับการบริหารจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัย
ในโลกยุคใหม่ การทำงานนอกออฟฟิศ กลายเป็นเรื่องปกติที่แทบทุกธุรกิจต้องทำ แต่การจัดการปัญหาคอมพิวเตอร์ให้ผู้ใช้ในองค์กร หรือการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัยก็เป็นความท้าทายขององค์กรจำนวนมากที่ต้องจัดการคอมพิวเตอร์จำนวนมากโดยที่พนักงานไม่ได้อยู่ในสำนักงาน
หากทีมไอทีไม่สามารถเข้าไปช่วยเหลือ และแก้ปัญหาคอมพิวเตอร์ให้พนักงานที่ทำงานจากบ้านได้ อาจทำให้งานต้องหยุดชะงักเป็นเวลานาน แถมความเสี่ยงข้อมูลหลุดยังมีสูงขึ้น เมื่อพนักงานต้องพกคอมพิวเตอร์กลับไปทำงานในสถานที่อื่น เช่นบ้านหรือร้านกาแฟ และโคเวิร์คกิ้งสเปซ
ซีพียูกลุ่ม Tiger Lake ใหม่อีกตัว นอกจาก Core 11th รหัส H35 สำหรับโน้ตบุ๊กเกมมิ่งสายบางเบา คือสินค้ากลุ่ม vPro สำหรับภาคธุรกิจตามรอบปกติ (ที่ออกหลังรุ่นคอนซูเมอร์ประมาณครึ่งปี) โดยอินเทลเรียกชื่ออย่างเป็นทางการว่า 11th Gen Intel vPro Platform
แกนหลักของ 11th Gen vPro ยังเป็น Tiger Lake รหัส U ที่ใช้จีพียู Iris Xe แต่เพิ่มมาด้วยฟีเจอร์ความปลอดภัยของลูกค้าฝั่งองค์กร ฟีเจอร์ที่เป็นของใหม่จริงๆ รอบนี้คือ
หลังจากเปิดตัว Core 10th Gen สำหรับเดสก์ท็อปได้ประมาณ 2 สัปดาห์ อินเทลก็เติมสินค้าให้ครบไลน์ด้วยการเปิดตัวซีพียู Core 10th Gen กลุ่ม vPro สำหรับโน้ตบุ๊ก-เดสก์ท็อปฝั่งธุรกิจตามมา
Core 10th Gen vPro ที่เปิดตัวชุดนี้ มีทั้งซีพียูกลุ่มโน้ตบุ๊ก (รหัส H และ U) และซีพียูกลุ่มเดสก์ท็อป (Comet Lake-S) ซึ่งรวมถึงซีพียูกลุ่ม Xeon Workstation (รหัส W) ด้วย