Blognone Full Coverage
บทความพิเศษโดย ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล รองผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เกี่ยวกับประวัติของเทคโนโลยี MP3 ผมเห็นว่ามีประโยชน์มาก เลยขอบทความมาเผยแพร่ต่อ และได้รับอนุญาตจาก ดร. ทวีศักดิ์ เรียบร้อยครับ
ต้นฉบับจาก Viewpoints for Thailand โดยแก้ไขฟอร์แมตเล็กน้อย
จากข่าวก่อนหน้า ผมได้เป็นคนนึงที่มีโอกาสได้เจ้าร่วมงานเปิดตัว PS3 slim ในไทยและได้พูดคุยกับทางผู้ใหญ่และเจ้าหน้าที่ของโซนี่ ไทย และ Sony Computer Entertainment Asia ผมเลยขอนำบทความที่ผมเขียนลงในบล็อกมาแชร์ให้เพื่อน ๆ Blognone ที่กำลังติดตามเรื่อง PS3 ที่นำเข้าโดย Sony ได้อ่านกันครับ
เรื่องนี้เป็นมหากาพย์เรื่องยาวในวงการเว็บของฝรั่ง ตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้วยาวมาจนถึงสัปดาห์นี้ ผมเล่าแบบคร่าวๆ ละกันนะครับ
ผมเชื่อว่าผู้อ่าน Blognone ทุกคนน่าจะใช้ Facebook และจำนวนไม่น้อยคงเคยเล่นเกมบน Facebook ในตระกูลที่เรียกว่า social gaming ตัวอย่างที่ดังๆ ก็อย่าง Farmville, Restaurant City, Pet Society ฯลฯ ในรอบปีนี้ (เกมพวกนี้ดังมากๆ ไม่เฉพาะเมืองไทยอย่างเดียว เกมที่นิยมที่สุดคือ Farmville นั้นมีคนเล่นถึง 61 ล้านคน พอๆ กับประชากรไทยเลยนะ)
คนที่เคยเล่นน่าจะนึกออกว่า รายได้ของผู้ผลิตเกมพวกนี้นอกจากโฆษณาแล้ว ยังมีรายได้จากการขายไอเทมหรือเงินเสมือนในเกม ปัญหามันเกิดมาจากตรงนี้ละครับ เพราะเกมพวกนี้ได้ล่อลวง (scam) ด้วยวิธีต่างๆ ให้ผู้เล่นยอมเสียเงินซื้อของในเกม
จากที่เมื่อประมาณสองสัปดาห์ที่แล้วแอปเปิลได้เปิดตัวเมาส์ใหม่ที่มีชื่อว่า Magic Mouse (ข่าวเก่า) ในวันนั้นผมก็ได้ตัดสินใจสั่งซื้อมาจาก Apple Online Store (เพราะว่าเมาส์เดิมลูกกลิ้งตายไปนานแล้ว) จนวันนี้มันก็มาถึงบ้านผมแล้วครับ
บรรจุภัณฑ์และรูปลักษณ์ภายนอก
ดูเหมือนระยะหลังๆ แอปเปิลจะมีเทรนด์ใช้กล่องพลาสติกใสเพื่อให้เห็นผลิตภัณฑ์ชัดๆ และไม่แน่ใจว่าเพื่อลดขนาดด้วยหรือเปล่า ซึ่งตัว Magic Mouse นี้เองก็อยู่ในกล่องพลาสติกขนาดพอดีตัวเมาส์แบบในภาพนี้ อยากรู้เหมือนกันว่า การใช้กล่องพลาสติกขนาดพอดีผลิตภัณฑ์ เทียบกับกล่องกระดาษที่ต้องใหญ่กว่านิดหน่อยเพื่อให้แข็งแรง แบบไหนจะดีต่อสิ่งแวดล้อมกว่ากัน
Blognone เคยรีวิว Ubuntu แบบเต็มๆ ไปครั้งหนึ่งในรุ่น 6.06 LTS "Dapper Drake" (จากนั้นเคยมี 7.04 "Feisty Fawn" รุ่นเบต้า และ Ubuntu Netbook Remix แต่เป็นตอนสั้นๆ) ตอนนี้เมื่อ Ubuntu 9.10 "Karmic Koala" ออกตัวจริงเรียบร้อย ก็ได้เวลามารีวิวกันอีกครั้ง
ใน Ask Blognone ตอน "ปัญหาคีย์บอร์ดภาษาไทยบนมือถือ" ผมได้ขอข้อมูลและความเห็นเรื่องคีย์บอร์ดภาษาไทยบนมือถือยี่ห้อต่างๆ จากผู้อ่าน Blognone หลังจากนั้นผมได้รวบรวมข้อมูลและนำเสนอต่อที่ประชุมของ NECTEC วันนี้เลยมารายงานความคืบหน้าครับ
การเดินทางอันยาวนานกับซีรีย์ "รีวิว Windows 7 ตัวจริง" มาถึงตอนจบแล้ว ปิดท้ายด้วยประเด็นด้านภาษาไทย, ประสิทธิภาพ, ข้อสรุปและฟันธงว่าอัพเกรดดีไหม? ควรเอายังไงกับ Windows 7?
ความเดิม
คลิปนี้ผมได้มาแบบบังเอิญจริงๆ สาเหตุมาจากวันนี้ผมกับคุณ @lewcpe มีนัดเจรจาธุรกิจลับกับ @iMenn และ @iPattt เพื่อให้ Tiger Idea ออกแบบธีมใหม่ของ Blognone ให้ (ลับตรงไหนเนี่ย) แต่เมื่อคุณ @iMenn ไม่ได้มาคนเดียว พาแขกรับเชิญมาด้วย ทุกคนในโต๊ะนั่งแซวกันไปกันมา สุดท้ายก็ออกมาเป็นคลิปตามที่เห็น
ตอนนี้เป็นเรื่องของแอพพลิเคชันที่ติดมากับ Windows 7 รวมถึงแอพพลิเคชันในชุด Windows Live Essentials ที่ดาวน์โหลดมาลงเพิ่มเติมได้ และพูดถึง Windows XP Mode (XPM) นิดหน่อย
ความเดิม
การเดินทางอันยาวนานของเรามาถึงตอนที่ 6 แล้วนะครับ ตอนนี้ว่าด้วยประเด็นด้านฮาร์ดแวร์ทั้งหมด ได้แก่ Device Stage, หาไดรเวอร์เจอมั้ย และความสามารถใหม่ HomeGroup เอาไว้เซ็ตระบบเครือข่ายที่บ้านได้แบบง่ายๆ
สำหรับตอนนี้จะกล่าวถึงฟีเจอร์อื่นๆ ทีเหลือของตัวระบบปฏิบัติการ แต่ไม่รวมฟีเจอร์ระดับแอพพลิเคชัน ได้แก่ Windows Search, Federated Search, Control Panel, UAC, Windows Action Center และ BitLocker to Go
เมื่อวันที่ 11 ที่ผ่านมาข่าวหนึ่งที่ปรากฏตามหน้าหนังสือพิมพ์ด้านโทรคมคือทางกทช. ได้ออกประกาศร่างสุดท้ายก่อนการประมูลคลื่นความถี่เพื่อให้บริการ 3G กันแล้ว และกำลังจะมีการรับฟังความคิดเห็นสาธารณะกันในขั้นสุดท้ายในวันนี้
ก่อนอื่นมีประเด็นที่เราควรรู้ในร่างนี้
ความเดิม:
ตอนที่ 4 เป็นเรื่องของส่วนติดต่อผู้ใช้อื่นๆ และ Windows Explorer ครับ
ผมไม่ได้คิดคำโปรยบนหัวเองนะครับ แต่คำว่า Adamo นั้นแปลว่า "ตกหลุมรัก" จริงๆ น่าเสียดายว่ากว่าจะได้ Adamo มาทดสอบนั้นก็ค่อนข้างยาวนานถึงหกเดือนหลังการเปิดตัว เล่นเอาประกาศลดราคากันไปแล้วหนึ่งรอบ แถมยังมีรุ่นใหม่จ่อๆ ว่าจะเปิดตัวในเร็วๆ นี้?
ความเดิม:
สำหรับตอนที่ 3 จะกล่าวถึงส่วนติดต่อผู้ใช้อื่นๆ นอกเหนือจาก Taskbar ได้แก่ Start Menu และการจัดการหน้าต่าง
รีวิว Windows 7 ตอนที่สอง ว่าด้วยสเปกฮาร์ดแวร์ขั้นต่ำ คำถามว่าควรใช้ 32 บิทหรือ 64 บิท จากนั้นเข้าสู่เรื่องหน้าตาและรูปลักษณ์ รวมไปถึงสิ่งที่เปลี่ยนแปลงมากที่สุดจาก Vista มายัง Windows 7 นั่นคือ Taskbar อันใหม่นั่นเอง
บทความในชุด: รีวิว Windows 7 ตัวจริง: ตอนที่ 1
เมื่อต้นปี Blognone ได้รีวีว Windows 7 Beta ไปแล้ว (ตอนที่ 1, ตอนที่ 2) เมื่อเวลาผ่านมาอีกเกือบปี Windows 7 ก็เสร็จสมบูรณ์ และพร้อมสำหรับวันวางจำหน่ายจริง 22 ตุลาคม 2009 คราวนี้ถึงเวลามาดูกันอีกรอบว่า ระบบปฏิบัติการที่หลายๆ คนรอคอย และไมโครซอฟท์เองก็ฝากความหวังไว้อย่างเต็มที่ว่าจะมากู้หน้าของ Vista ได้นั้นใช้ดีแค่ไหน เป็นอย่างไร
ผมได้ไปเจอบทความซีรีส์นึงในเว็บ AppleInsider ซึ่งพูดถึงรายละเอียดต่างๆ ของ Snow Leopard ซึ่งในเวลาที่ผมพิมพ์นี้ได้ออกมาแล้ว 3 ตอนคือ Quicktime X, 64-bit และ GPU Optimization
เมื่อวานผมได้รับแจ้งจาก @fordantitrust ว่าทาง Lenovo ประเทศไทย มีจัดกิจกรรมเล็กๆ พบปะกับคุณ Matthew Kohut ตำแหน่งเป็น Lenovo WorldWide Competitive Analysis (พี่แกเขียนบล็อกเกี่ยวกับวิศวกรรมใน ThinkPad อยู่ที่ Inside the Box ตามไปอ่านกันได้)
ผมไม่ได้ใช้ ThinkPad แต่เห็นว่าน่าสนุกดีเลยตามไปด้วย หลังจากไปฟังแล้วพบว่า Jonathan Ive ยังอายเลยครับ
ตอนเก่า
ตอนสุดท้ายว่าด้วยประเด็นอื่นๆ ของ BlackBerry, รีวิวโปรแกรมที่น่าสนใจบางตัว และปิดด้วยความเห็นจาก @sugree
ความเดิม: รีวิว BlackBerry Storm ตอนที่ 1 ว่าด้วยเรื่องฮาร์ดแวร์
ตอนที่สองนี้มาว่ากันด้วยเรื่องซอฟต์แวร์ โดยเน้นไปที่ตัว BlackBerry OS และโปรแกรมที่ RIM ให้มาเป็นหลัก ส่วนเรื่องโปรแกรม 3rd party ไปว่ากันตอนที่สามครับ (คำเตือน: ตอนนี้รูปเยอะมาก)
ความเดิม: โนเกียเข้าซื้อกิจการของ Symbian ประกาศโอเพนซอร์ส และยกอำนาจการดูแลให้ Symbian Foundation เมื่อการทำงานเริ่มลงตัว Symbian Foundation ได้ออกมาประกาศว่าจะออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน
เวลาผ่านมาเกือบครึ่งปี Symbian เผยแผนการเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการของตัวเองเพิ่มมากขึ้น วันนี้จะเล่าถึงแผนของ Symbian^2 จนถึง Symbian^4 ครับ
ผู้อ่าน Blognone น่าจะรู้กันหมดแล้วว่าตัวแทนของ RIM เอเชียแปซิฟิกได้เชิญบล็อกเกอร์จำนวนหนึ่งไปร่วมทดสอบ BlackBerry Storm (อ่านบรรยากาศจาก keng.com และ sugree.com ประกอบ)
สิ่งที่ไม่คาดฝันคือ RIM ให้ Storm กลับบ้านมาด้วย หลังจากเอาไปเล่นได้สักพัก ก็ได้เวลารีวิวครับ
หลังจากการเจรจาอันยาวนานเกือบ 3 ปี (รวมช่วงที่เป็นข่าว 2 ปี และช่วงก่อนหน้านั้น 1 ปี) สุดท้ายมหากาพย์เรื่องไมโครซอฟท์-ยาฮูก็ได้ข้อยุติ (ข่าวเก่า: ไมโครซอฟท์ตกลงร่วมมือด้านการค้นหากับยาฮูสำเร็จ) เนื่องจากข้อตกลงครั้งนี้ค่อนข้างซับซ้อน มาดูกันว่ามันมีความหมายอย่างไรกับชีวิตประจำวันของชาวเน็ตอย่างเราๆ ครับ
หลังข้อตกลงนี้ ใครจะทำอะไร
ในที่สุดกูเกิลก็ปล่อยขีปนาวุธอีกลูกถล่มใส่ไมโครซอฟท์แบบไม่รู้เนื้อรู้ตัว เมื่อวันที่ 7 เดือน 7 ปี 2009 กูเกิลแสดงพลังด้วยการประกาศพัฒนาระบบปฎิบัติการใหม่ เรียกว่า Google Chrome OS ระบบ Chrome OS นี้เป็นระบบปฎิบัติการขนาดเบาที่พัฒนามาใช้กับเน็ตบุ๊ก ปีนี้จะปล่อยออกมาเป็นโอเพ่นซอร์ส ปีหน้าก็จะออกมาในผลิตภัณ์เน็ตบุ๊ก กูเกิลยังประกาศตัวพันธมิตรธุรกิจจำนวนมาก นี่ไม่ใช่การออกผลิตภัณฑ์มาแข่งขันกันแบบธรรมดา แต่เป็นส่วนหนึ่งของการรณรงค์อันยาวนานของกูเกิลที่จะเปลี่ยนโลกจาก desktop centric computing มาสู่ web centric computing อันจะเป็นการพลิกโลกไอทีทั้งโลก งานนี้ต้องมาดูแนวคิดทางยุทธศาสตร์ของแต่ละฝ่ายครับ ว่าเดินหมากสงครามนี้อย่างไร